วันพุธที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

เสียงขลุ่ย และวิธีเป่าขลุ่ย




เสียงขลุ่ย  และวิธีเป่าขลุ่ย
เสียงต้อ เสียงแหบ และเสียงควง
เสียงต้อ  หรือเสียงธรรมดา  คือ  เสียงที่เกิดจากการเป่าขลุ่ยด้วยลมธรรมดา  เป่าได้ 8 เสียง ดังนี้
         
      โน้ต 
นิ้ว
ดํ
ชี้
โป้ง
¡
กลาง
¡
¡
นาง
¡
¡
¡
ชี้
¡
¡
¡
¡
กลาง
¡
¡
¡
¡
¡
นาง
¡
¡
¡
¡
¡
¡
ก้อย
¡
¡
¡
¡
¡
¡
¡

ตาราง แสดงการปิด เปิดนิ้ว ในเสียงต้อ หรือเสียงธรรมดา

          เสียงแหบ หรือเสียงสูง คือ เสียงที่เกิดจาการเป่าขลุ่ยด้วย ลมแรง กว่าลมธรรมดา โดยที่ตำแหน่งของนิ้วต่าง ๆ อยู่เหมือนกับการเป่าเสียงต้อ
          สำหรับการเป่าเสียงแหบนั้น  ส่วนใหญ่จะเป่ากันแค่เสียงซอลสูง หรือเสียงลาสูงเท่านั้น สำหรับเสียงโดสูงนั้น เป่าได้ 2 แบบ คือ ปิดรูทั้งหมดแล้วเป่าด้วยลมแรง และแบบเปิดรูค้ำ ก็จะได้เสียงโดสูงหรือจากเสียงแหบนั้นเอง
           
     
เสียงควง คือ เสียงโน้ตตัวเดียวกันและ อยู่ในระดับเดียวกันแต่นิ้วต่างกัน เลยทำให้สำเนียงต่างกัน ถ้าเป็นโน้ตตัวเดียวกันแต่สูงต่ำเป็นคู่แปด อย่างนี้ก็ไม่ใช่เสียงควงเพราะไม่ได้เป็นเสียงที่อยู่ระดับเดียวกัน เสียงควงนี้จะต้องเล่นเป็นคู่อย่างน้อย 1 คู่ คือ ปิดเปิดนิ้วอย่างธรรมดาครั้งหนึ่ง กับเปิดปิดนิ้วพิเศษ ทำให้เกิดเป็นเสียงคู่ หรือเสียงควงอีกครั้ง หนึ่ง (อุทิศ นาคสวัสดิ์,2525:13-14) การเป่าเสียงควงนั้นมีวิธีการเป่าดังนี้  

          เสียง   ฟา()           บนปิดหมดทุกนิ้ว เปิดแต่นิ้วชี้ล่าง
เสียง   ซอล()         เปิดนิ้วก้อยล่าง 1นิ้วกับเปิดนิ้วนางบน  1 นิ้ว
นอกจากนั้นปิดหมด เป่าลมธรรมดา
เสียง   ลา()            เปิดนิ้วล่าง 2 นิ้วกับเปิดนิ้วกลางบน 1 นิ้ว นอกนั้นปิด
หมด เป่าลมธรรมดา
เสียง   ที ()            ปิดนิ้วชี้ นิ้วกลางกับนิ้วนางบน นอกนั้นเปิดหมดเป่าลม
ธรรมดา
เสียง   โด(ดํ)            ปิดนิ้วชี้ล่าง กับนิ้วนางและนิ้วกลางบนนอกนั้นปิดหมด
เป่าลมธรรมดา

          นอกจากเสียงควงทั้ง 5 คู่เสียงนี้แล้ว ยังมีเสียงธรรมดา ที่ใช้นิ้วธรรมดาเหมือนกัน
ได้สำเนียงผิดกันอีก 2 คู่เสียง เรียกว่า เสียงเลียน มีวีธีการเป่าดังนี้

เสียง   โด  (ดํ)                   ปิดหมดทุกนิ้ว แต่เป่าด้วยลมแหบ
เสียง   เร   (รํ)          เปิดนิ้วก้อยล่าง 1 นิ้ว เป่าด้วยลมแหบ

         
การอ่านโน้ตเพลงไทย
            ในการเรียนดนตรีและการบรรเลงดนตรีไทย ปกติตั้งแต่สมัยโบราณมาไม่มีการใช้โน้ตจะใช้วิธีการจดจำบทเพลงต่างๆ และสื่อสารต่อกันโดยการบรรเลงเครื่องดนตรี หรือการใช้ปากท่องทำนอง หรือที่เรียกว่า การนอยเพลง ซึ่งจะทำให้นักดนตรีจดจำเพลงได้อย่างแม่นย่ำ หากลืมเพลงแล้วจะไม่สามารถทบทวนเพลงได้ง่ายนัก ปัจจุบันมีผู้รู้ทางดนตรีไทยหลายท่านได้คิดสัญลักษณ์แทนเสียง ซึ่งปัญญา  รุ่งเรือง ได้กล่าวถึงหลักเกณฑ์ของโน้ตเพลงไทยไว้ดังนี้
1. ตัวโน้ต ใช้ตัวอักษรโดยยืมเสียงของตัวโน้ตในดนตรีสากลมาใช้ (แต่ระดับเสียงและความห่างของเสียงไม่เท่ากัน) เพื่อความสะดวก และเขียนเป็นอักษรย่อดังนี้
          ด        ใช้แทนเสียง   โด    
                 ใช้แทนเสียง  
เร      
                 ใช้แทนเสียง   มี      
                ใช้แทนเสียง  
ฟา     
                ใช้แทนเสียง   
ซอล  
                 ใช้แทนเสียง   ลา     
                ใช้แทนเสียง   ที    
ในกรณีที่เป็นเสียงสูง ก็จะใส่ จุด ไว้บนตัวโน้ต เช่น   ดํ หมายถึง  โด สูง ,                             
          รํ  หมายถึง  เร สูง , มํ  หมายถึง  มี สูง  เป็นต้น
ในกรณีที่เป็นเสียงต่ำ ก็จะใส่ จุด ไว้ใต้ตัวโน้ต เช่น   ฟฺ หมายถึง  ฟา ต่ำ ,                             
          ซฺ  หมายถึง  ซอล ต่ำ , ลฺ  หมายถึง  ลา  ต่ำ  เป็นต้น
2. บรรทัดสำหรับเขียนโน้ต แบ่งออกเป็นช่องๆ บรรทัดละ 8 ช่อง แต่ละช่องเรียกว่า ห้อง ห้องแต่ละห้องจะบรรจุ ตัวโน้ต 4 ตัวซึ่งโน้ตแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากับ 1 จังหวะย่อย ดังตัวอย่าง



3. อัตราจังหวะ ตัวโน้ต ตามปกติโน้ต 1 ตัว เท่ากับ 1 จังหวะย่อย ถ้าจะให้อัตราจังหวะของตัวโน้ตยืดออกไปเป็น 2,3,4 จังหวะ หรือมากกว่านั้น จะใช้ขีด ( - ) ต่อท้ายตัวโน้ตตัวนั้น ขีดละ 1 จังหวะ ซึ่ง 1 ขีด มีค่า เท่ากับ 1 จังหวะย่อย เช่น
          ด -                         มีค่า    จังหวะ
- - -                     มีค่า    จังหวะ
- - -  - - - -            มีค่า    จังหวะ
   แบบฝึกหัดการอ่านโน้ต   
แบบฝึกหัดที่ 1   
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ดํ

-
-
-
ดํ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
แบบฝึกหัดที่ 2
-
-
-
-
-
-
-
-
ดํ
-
ดํ
-
-
-
-
-
-
-
แบบฝึกหัดที่ 3   
ดํ
ดํ
ดํ
ดํ
แบบฝึกหัดที่ 4
-
-
-
-
-
-
ดํ
-
ดํ
รํ
-
ดํ
รํ
มํ

-
มํ
รํ
ดํ
-
รํ
ดํ
-
ดํ
-
-
-
-
-
แบบฝึกหัดที่ 5
-
-
-
-
-
-
-
-

ที่มา บทความของท่านอาจารย์ศิลปชัย เจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี